ABOUT ความเหลื่อมล้ำทางการศึกษา

About ความเหลื่อมล้ำทางการศึกษา

About ความเหลื่อมล้ำทางการศึกษา

Blog Article

เนื่องจากปัญหาใหญ่ที่ก่อให้เกิดเป็นความเหลื่อมล้ำทางการศึกษามาจากปัญหาความเหลื่อมล้ำทางเศรษฐกิจ เนื่องจากมีเด็ก และเยาวชนไทยจำนวนมากที่อยู่ในครอบครัวที่มีฐานะยากจน โอกาสในการศึกษาจึงมีน้อย เพราะขาดทุนการศึกษา และค่าเล่าเรียน ดังนั้น จึงควรมีกองทุนเพื่อการศึกษา เพื่อช่วยเหลือปัญหาความเหลื่อมล้ำทางการศึกษาจากการขาดแคลนทุนทรัพย์ในการศึกษาเล่าเรียน และให้โอกาสเด็ก หรือเยาวชนได้รับการศึกษาที่มีประสิทธิภาพ เพื่อวางรากฐานให้คุณภาพชีวิตเยาวชนให้ดีขึ้นต่อไป

สำรวจข้อจำกัดและสัมผัสการทำงานในพื้นที่จริง

งบประมาณ ทุกวันนี้การจัดสรรงบประมาณแก่โรงเรียนเป็นการให้ตามรายหัว ถ้ามีนักเรียนเยอะก็ได้เงินเยอะ ถ้ามีนักเรียนน้อยก็ได้น้อย ทั้งที่โรงเรียนขนาดเล็กมีปัญหาหนักกว่าโรงเรียนขนาดใหญ่เสียด้วยซ้ำ เช่น มีนักเรียนยากจนมากกว่า โอกาสในการระดมทรัพยากรก็ยากกว่า ยิ่งอยู่ในพื้นที่ห่างไกล การซ่อม สร้าง ปรับปรุงโรงเรียนยิ่งยากลำบากและมีต้นทุนสูง ทั้งค่าขนส่ง ค่าใช้จ่ายของแรงงาน หากรัฐยังคงวางแผนงบประมาณเช่นเดิม หรือเลือกให้อย่างเท่าเทียมกันทั้งประเทศ จะยิ่งทำให้เกิดความเหลื่อมล้ำมากขึ้น การจัดสรรงบประมาณจึงควรมอบให้โรงเรียนที่มีเด็กยากจน และประสบปัญหาขาดแคลนทรัพยากรเสียก่อน

It it accustomed to estimate new and returning visitor figures. The cookie is up to date every time information is distributed to Google Analytics. The lifespan in the cookie is usually customised by Web-site owners.

นอกจากปัญหาขาดแคลนครูแล้ว นักเรียนไทยอีกหลายล้านคนยังขาดแคลนหนังสือเรียน ชุดนักเรียน เครื่องเขียน และอาหารกลางวันด้วย

ปัจจุบันสถานศึกษาในระดับอุดมศึกษาหลายแห่งมีการเปิดรับนักศึกษาเป็นจำนวนมาก และเริ่มดำเนินการจัดการระบบคล้ายกับการประกอบธุรกิจ กล่าวคือมีสถาบันทางการศึกษาเป็นผู้ให้บริการ ในขณะที่นักเรียน หรือนักศึกษาเปรียบเสมือนกลุ่มลูกค้าที่เข้ามารับบริการ จึงทำให้สถาบันในระดับอุดมศึกษาหลายแห่งรับนักศึกษาโดยเน้นปริมาณของจำนวนนักศึกษามากกว่าการคำนึงถึงคุณภาพทางด้านการศึกษา โดยในบางสาขาที่เป็นที่ต้องการของตลาดแรงงานกลับมีอัตรารับเข้าเรียนที่น้อย

บทเรียนจากงานวิจัยเกี่ยวกับการพัฒนาเด็กปฐมวัย : รศ.ดร.วีระชาติ กิเลนทอง

ศูนย์การเรียนไร่ส้มวิทยา จัดการศึกษาขั้นพื้นฐานให้เด็กที่หลุดจากระบบการศึกษา เด็กที่อยู่ในสภาวะยากลำบากในพื้นที่ห่างไกล ให้ได้รับการศึกษาขั้นพื้นฐานอย่างทั่วถึง มีคุณภาพ และได้มาตรฐานตามหลักสูตร

แต่ถ้าถามว่า ช่องว่างของการเรียนรู้เกิดจากแค่ลักษณะของครัวเรือน (ยากจน/ร่ำรวย) หรือไม่? คำตอบคือไม่ เพราะยังมีปัจจัยอื่น เช่น ความเหลื่อมล้ำทางการศึกษา คุณภาพของโรงเรียน ซึ่งเป็นตัวแปรที่ส่งผลต่อคุณภาพทางการศึกษาอย่างสำคัญ โดยรายงานระบุว่า หากนักเรียนยากจนได้รับการศึกษาจากโรงเรียนที่มีคุณภาพ ผลการเรียนของนักเรียนจะอยู่ในระดับมาตรฐานที่ไม่ต่างจากนักเรียนร่ำรวยเท่าไรนัก

กสศ. ความเสมอภาคทางการศึกษา สพฐ. ความเหลื่อมล้ำทางการศึกษา นักเรียนยากจน การศึกษาไทย ปัญหาการศีกษา เงินอุดหนุนนักเรียนยากจน

แก้วิกฤต (การเรียนรู้) ที่มองไม่เห็น: หาช่องว่าง ทำการประเมิน และออกมาตรการที่ปฏิบัติได้จริง

เมื่อกล่าวถึงความไม่เท่าเทียม และความเหลื่อมล้ำทางด้านการศึกษาอาจทำให้มองเห็นภาพของความเหลื่อมล้ำไม่ชัดเจนมากนัก แต่เมื่อมองปัญหาที่ส่งผลให้เกิดความไม่เท่าเทียม อาจทำให้ภาพของความเหลื่อมล้ำทางการศึกษาแสดงออกมาได้ชัดเจนมากยิ่งขึ้น โดยสะท้อนผ่านปัญหาในมิติต่างๆ ซึ่งแม้มีการพยายามแก้ไขเพื่อลดช่องว่างของความเหลื่อมล้ำ แต่กลับพบว่าปัญหาความเหลื่อมล้ำทางการศึกษายังคงมีอยู่อย่างต่อเนื่องมาจนถึงปัจจุบัน โดยปัญหาที่สะท้อนความเหลื่อมล้ำทางด้านการศึกษา มีดังต่อไปนี้

ความเคลื่อนไหว จดหมายข่าวถึงเพื่อนภาคี

ในขณะเดียวกัน ผู้ที่มีโอกาสทางการศึกษาที่ดีกว่า หรือเป็นแรงงานฝีมือที่มีคุณภาพ กลับแสวงหาโอกาสในการทำงานในองค์กรต่างประเทศ เนื่องจากมีโอกาสในการพัฒนาคุณภาพชีวิต และความก้าวหน้าทางอาชีพที่สูงมากกว่าในประเทศนั่นเอง

Report this page